
เขียนโปรแกรมภาษา Python ตอนที่ 88 การเข้าถึงข้อมูลใน Tuple
การเข้าถึงข้อมูลหรือสมาชิกใน Tuple สามารถทำได้โดยการอ้างอิงหมายเลขอินเด็กซ์ โดยระบุไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยม square brackets (อินเด็กซ์เริ่มที่ 0) โดยมีรูปบแบบดังนี้
tuple[index]
- tuple คือตัวแปรข้อมูลขนิดทูเพิล
- index คือหมายเลขอินเด็กซ์อ้างอิงตำแหน่งข้อมูลที่ต้องการเข้าถึง (เริ่มต้นที่ 0)
ตัวอย่าง
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell") print(myTuple[3])
- บรรทัดที่ 2 ให้แสดงข้อมูลของ Tuple โดยอ้างอิงข้อมูลลำดับที่ 4 (อินเด็กซ์เท่ากับ 3)
ผลลัพธ์
Dell
ระบุอินเด็กซ์ติดลบ
เราสามารถอ้างอิงถึงข้อมูลใน Tuple โดยการระบุอินเด็กซ์เป็นตัวเลขติดลบได้ ซึ่งจะเป็นการเข้าถึงข้อมูลโดยเริ่มจากลำดับสุดท้าย เช่น ถ้าระบุอินเด็กซ์เป็น -1 ก็จะเป็นการอ้างถึงข้อมูลลำดับที่ 1 เรียงจากลำดับสุดท้าย ก็คือข้อมูลลำดับสุดท้ายนั่นเอง
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell") print(myTuple[-2])
- บรรทัดที่ 2 แสดงข้อมูลลำดับที่ -2 หมายถึงข้อมูลลำดับที่ 2 นับจากลำดับสุดท้าย
ผลลัพธ์
Acer
การเข้าถึงข้อมูลเป็นช่วง
เราสามารถเข้าถึงข้อมูลใน Tuple โดยการระบุช่วงข้อมูลได้ คือระบุว่าต้องการข้อมูลลำดับที่เท่าไหร่ถึงลำดับที่เท่าไหร่ โดยค่าที่ได้กลับมาจะเป็น Tuple ใหม่ ที่ประกอบด้วยช่วงข้อมูลตามที่เราระบุ โดยมีรูปแบบดังนี้
tuple[start:end]
- start คืออินเด็กซ์เริ่มต้น
- end คืออินเด็กซ์สุดท้าย (ลบ 1)
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "HP", "Apple", "Microsoft", "MSI") print(myTuple[3:7])
- บรรทัดที่ 2 เข้าถึงข้อมูลเริ่มจากอินเด็กซ์ 3 (ลำดับที่ 4) ถึงอินเด็กซ์ 7 (หมายถึงอินเด็กซ์ 7 ลบ 1 คืออินเด็กซ์ 6 ซึ่งก็คือข้อมูลลำดับที่ 7 นั่นเอง)
ผลลัพธ์ จะได้เป็นทูเพิลใหม่ที่ประกอบด้วยข้อมูลตามที่ระบุ
(‘Dell’, ‘HP’, ‘Apple’, ‘Microsoft’)
ข้อสังเกตคือ ลำดับอ้างอิงสุดท้าย (End Index) จะไม่ถูกรวมเข้าด้วย จะได้ข้อมูลถึงอินเด็กซ์นั้น ๆ ลบด้วย 1 เสมอ
ถ้าไม่ระบุอินเด็กซ์เริ่มต้น จะเป็นการเข้าถึงข้อมูลตั้งแต่ลำดับแรกไปจนถึงลำดับที่ระบุ
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "HP", "Apple", "Microsoft", "MSI") print(myTuple[:7])
(‘Asus’, ‘Lenovo’, ‘Acer’, ‘Dell’, ‘HP’, ‘Apple’, ‘Microsoft’)
และถ้าไม่ระบุอินเด็กซ์สุดท้าย ก็จะเป็นการเข้าถึงข้อมูลตั้งแต่ลำดับที่ระบุจนเป็นถึงข้อมูลลำดับสุดท้าย
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "HP", "Apple", "Microsoft", "MSI") print(myTuple[3:])
(‘Dell’, ‘HP’, ‘Apple’, ‘Microsoft’, ‘MSI’)
การเข้าถึงข้อมูลแบบช่วง สามารถระบุอินเด็กซ์ติดลบได้เช่นกัน ดังตัวอย่าง
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "HP", "Apple", "Microsoft", "MSI") print(myTuple[-5:-1])
- บรรทัดที่ 2 เข้าถึงข้อมูลเริ่มจากอินเด็กซ์ -5 (หมายถึงข้อมูลลำดับที่ 5 นับจากลำดับสุดท้าย) ไปจนถึงข้อมูลอินเด็กซ์ -1 [ไม่รวม] (หมายถึงข้อมูลอินเด็กซ์ -1 ลบ 1 ซึ่งก็ได้แก่ อินเด็กซ์ -2 คือข้อมูลลำดับที่ 2 นับจากลำดับสุดท้าย นั่นเอง)
ลองดูผลลัพธ์แล้วเทียบเคียงกับโค้ดดูนะครับ
(‘Dell’, ‘HP’, ‘Apple’, ‘Microsoft’)
ตรวจสอบว่ามีข้อมูลที่ระบุอยู่ใน Tuple หรือไม่
ถ้าต้องการตรวจสอบว่ามีข้อมูลที่ต้องการอยู่ใน Tuple หรือไม่ สามารถทำได้โดยใช้คีย์เวิร์ด in
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "HP", "Apple", "Microsoft", "MSI") if "Dell" in myTuple: print("Yes, 'Dell' is in tuple.") else: print("No, 'Dell' is not in tuple.")
ผลลัพธ์
Yes, ‘Dell’ is in tuple.
เขียนโปรแกรมภาษา Python
- ตอนที่ 1 ทำความรู้จักกับภาษาไพธอน Python
- ตอนที่ 2 เตรียมเครื่องมือ
- ตอนที่ 3 Python Syntax
- ตอนที่ 4 การเขียนคอมเม้นต์
- ตอนที่ 5 การใช้ฟังก์ชัน print
- ตอนที่ 6 ตัวแปร
- ตอนที่ 7 การตั้งชื่อตัวแปร
- ตอนที่ 8 การกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายตัว
- ตอนที่ 9การแสดงค่าจากตัวแปร
- ตอนที่ 10 ตัวแปรประเภท Global
- ตอนที่ 11 ชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 12 ข้อมูลชนิดตัวเลข
- ตอนที่ 13 การแปลงชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 14 ข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 15 slice syntax
- ตอนที่ 16 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล String
- ตอนที่ 17 การต่อข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 18 การจัดรูปแบบ String
- ตอนที่ 19 Escape Character
- เตอนที่ 20 เมธอด zfill()
- ตอนที่ 21 เมธอด upper()
- ตอนที่ 22 เมธอด title()
- ตอนที่ 23 เมธอด swapcase()
- ตอนที่ 24 เมธอด strip()
- ตอนที่ 25 เมธอด startswith()
- ตอนที่ 26 เมธอด splitlines()
- ตอนที่ 27 เมธอด split()
- ตอนที่ 28 เมธอด rstrip()
- ตอนที่ 29 เมธอด rsplit()
- ตอนที่ 30 เมธอด rpartition()
- ตอนที่ 31 เมธอด rjust()
- ตอนที่ 32 เมธอด rindex()
- ตอนที่ 33 เมธอด rfind()
- ตอนที่ 34 เมธอด replace()
- ตอนที่ 35 เมธอด partition()
- ตอนที่ 36 เมธอด lstrip()
- ตอนที่ 37 เมธอด lower()
- ตอนที่ 38 เมธอด ljust()
- ตอนที่ 39 เมธอด join()
- ตอนที่ 40 เมธอด isupper()
- ตอนที่ 41 เมธอด istitle()
- ตอนที่ 42 เมธอด isspace()
- ตอนที่ 43 เมธอด isprintable()
- ตอนที่ 44 เมธอด isnumeric()
- ตอนที่ 45 เมธอด islower()
- ตอนที่ 46 เมธอด isidentifier()
- ตอนที่ 47 เมธอด isdigit()
- ตอนที่ 48 เมธอด isdecimal()
- ตอนที่ 49 เมธอด isalpha()
- ตอนที่ 50 เมธอด isalnum()
- ตอนที่ 51 เมธอด index()
- ตอนที่ 52 เมธอด format()
- ตอนที่ 53 เมธอด find()
- ตอนที่ 54 เมธอด expandtabs()
- ตอนที่ 55 เมธอด endswith()
- ตอนที่ 56 เมธอด encode()
- ตอนที่ 57 เมธอด count()
- ตอนที่ 58 เมธอด center()
- ตอนที่ 59 เมธอด casefold()
- ตอนที่ 60 เมธอด capitalize()
- ตอนที่ 61 เมธอด format_map()
- ตอนที่ 62 เมธอด maketrans()
- ตอนที่ 63 เมธอด translate()
- ตอนที่ 64 ข้อมูลชนิด Boolean
- ตอนที่ 65 ตัวดำเนินการ
- ตอนที่ 66 ข้อมูลประเภท List
- ตอนที่ 67 การเข้าถึงสมาชิกใน List
- ตอนที่ 68 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 69 การเพิ่มข้อมูลใน List
- ตอนที่ 70 การลบข้อมูลใน List
- ตอนที่ 71 การเข้าถึงข้อมูลใน List ด้วย loop
- ตอนที่ 72 List Comprehension
- ตอนที่ 73 การเรียงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 74 การคัดลอก List
- ตอนที่ 75 การรวม List เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 76 เมธอด append()
- ตอนที่ 77 เมธอด clear()
- ตอนที่ 78 เมธอด copy()
- ตอนที่ 79 เมธอด count()
- ตอนที่ 80 เมธอด extend()
- ตอนที่ 81 เมธอด index()
- ตอนที่ 82 เมธอด insert()
- ตอนที่ 83 เมธอด pop()
- ตอนที่ 84 เมธอด remove()
- ตอนที่ 85 เมธอด reverse()
- ตอนที่ 86 เมธอด sort()
- ตอนที่ 87 ข้อมูลชนิด Tuple
- ตอนที่ 88 การเข้าถึงข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 89 การแก้ไขข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 90 การแยกข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 91 เข้าถึงข้อมูลใน Tuple ด้วยลูป
- ตอนที่ 92 การรวม Tuple เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 93 เมธอด count()
- ตอนที่ 94 เมธอด index()
- ตอนที่ 95 ข้อมูลประเภท Set
- ตอนที่ 96 การเข้าถึงข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 97 การเพิ่มข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 98 การลบข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 99 การเข้าถึงข้อมูลใน Set ด้วยลูป for
- ตอนที่ 100 การจอย Join ข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 101 เมธอด add()
- ตอนที่ 102 เมธอด clear()
- ตอนที่ 103 เมธอด copy()
- ตอนที่ 104 เมธอด difference()
- ตอนที่ 105 เมธอด difference_update()
- ตอนที่ 106 เมธอด discard()
- ตอนที่ 107 เมธอด intersection()
- ตอนที่ 108 เมธอด intersection_update()
- ตอนที่ 109 เมธอด isdisjoint()
- ตอนที่ 110 เมธอด issubset()
- ตอนที่ 111 เมธอด issuperset()
- ตอนที่ 112 เมธอด pop()
- ตอนที่ 113 เมธอด remove()
- ตอนที่ 114 เมธอด symmetric_difference()
- ตอนที่ 115 เมธอด symmetric_difference_update()
- ตอนที่ 116 เมธอด union()
- ตอนที่ 117 เมธอด update()
- ตอนที่ 118 ข้อมูลประเภท Dictionary
- ตอนที่ 119 การเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 120 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 121 การเพิ่มข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 122 การลบข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 123 การวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary
- ตอนที่ 124 การคัดลอก Dictionary
- ตอนที่ 125 Dictionary ซ้อนกัน
- ตอนที่ 126 เมธอด clear()
- ตอนที่ 127 เมธอด copy()
- ตอนที่ 128 เมธอด fromkeys()
- ตอนที่ 129 เมธอด get()
- ตอนที่ 130 เมธอด items()
- ตอนที่ 131 เมธอด keys()
- ตอนที่ 132 เมธอด pop()
- ตอนที่ 133 เมธอด popitem()
- ตอนที่ 134 เมธอด setdefault()
- ตอนที่ 135 เมธอด update()
- ตอนที่ 136 เมธอด values()
- ตอนที่ 137 การตรวจสอบเงื่อนไขด้วย If statement
- ตอนที่ 138 การใช้ while loop