
เขียนโปรแกรมภาษา Python ตอนที่ 90 การแยกข้อมูลใน Tuple
ในขณะที่เราสร้างตัวแปรประเภท Tuple ขึ้นมาและกำหนดข้อมูลให้กับตัวแปรดังกล่าว เรียก Packing เหมือนแพ็กสินค้ายังไงยังงั้น แต่ในกรณีของ Tuple เป็นการแพ็กข้อมูล
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer")
จากโค้ดด้านบนนั้นเป็นการประกาศตัวแปรข้อมูลแบบ Tuple พร้อมทั้งกำหนดข้อมูลให้มัน นี่แหละที่เรียกว่า Packing a tuple
ใน Python เราสามารถแยกข้อมูลแต่ละตัวออกมาเก็บลงในตัวแปรได้ วิธีนี้เรียกว่า “unpacking” ดังตัวอย่าง
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer") (notebook1, notebook2,notebook3) = myTuple print(notebook1) print(notebook2) print(notebook3)
- บรรทัดที่ 2 สร้างตัวแปรขึ้นมา จำนวนเท่ากับค่าใน Tuple และกำหนดค่าใน Tuple ให้กับตัวแปรที่สร้างขึ้น
ผลลัพธ์ ตัวแปรแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากับค่าใน Tuple เรียงตามลำดับ
Asus
Lenovo
Acer
จำนวนของตัวแปรต้องเท่ากันกับจำนวนของค่าใน Tuple ถ้าจำนวนของตัวแปรน้อยกว่าค่าใน Tuple ต้องกำหนดเครื่องหมาย *
ไว้หน้าตัวแปรตัวสุดท้ายเพื่อรวมค่าที่เหลือทั้งหมดใน Tuple เป็นข้อมูลแบบ List ดังตัวอย่าง
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "Intel", "Microsoft") (notebook1, notebook2, *notebook3) = myTuple print(notebook1) print(notebook2) print(notebook3)
- บรรทัดที่ 1 ตัวแปร myTuple เก็บข้อมูลแบบ Tuple มีข้อมูลทั้งหมด 6 ค่า
- บรรทัดที่ 2 สร้างตัวแปรขึ้นมา 3 ตัว เก็บข้อมูลจาก Tuple ที่สร้างไว้ (เนื่องจากตัวแปรที่สร้างขึ้นมีเพียง 3 ตัว ซึ่งน้อยกว่จำนวนค่าใน Tuple จึงกำหนดเครื่องหมาย
*
หน้าตัวแปรตัวสุดท้าย เพื่อให้นำค่าที่เหลือทั้งหมดใน Tuple มาเก็บไว้ที่ตัวแปรนี้ในรูปแบบ List)
ผลลัพธ์ ค่าใน Tuple จะถูกกำหนดให้กับตัวแปรตามลำดับ และข้อมูลที่เหลือจะถูกนำมาเก็บไว้ในตัวแปรตัวสุดท้ายในรูปแบบลิสต์
Asus
Lenovo
[‘Acer’, ‘Dell’, ‘Intel’, ‘Microsoft’]
ในกรณีที่เรากำหนดเครื่องหมาย *
ไว้หน้าตัวแปรอื่นแทนที่จะเป็นตัวแปรสุดท้าย Python จะนำค่าใน Tuple มากำหนดให้กับตัวแปรดังกล่าวจนเหลือจำนวนค่าใน Tuple เท่ากับจำนวนที่เหลือ
myTuple = ("Asus", "Lenovo", "Acer", "Dell", "Intel", "Microsoft") (notebook1, *notebook2, notebook3) = myTuple print(notebook1) print(notebook2) print(notebook3)
- บรรทัดที่ 2 สร้างตัวแปรมารับค่าจาก Tuple จำนวน 3 ตัวแปร และกำหนดเครื่องหมาย
*
ไว้หน้าตัวแปรที่ 2 (ค่าใน Tuple มีจำนวน 6 ค่า ซึ่งมากกว่าจำนวนตัวแปร)
ผลลัพธ์ Python จะนำค่าที่ 1 จาก Tuple มากำหนดให้กับตัวแปรที่ 1 และนำค่าที่เหลือ (เหลือไว้เท่ากับจำนวนตัวแปรที่เหลือ) มากำหนดให้ตัวแปรที่ 2 ซึ่งกำหนดเครื่องหมาย *
กำกับไว้ และนำค่าสุดท้ายมากำหนดให้กับตัวแปรที่ 3
Asus
[‘Lenovo’, ‘Acer’, ‘Dell’, ‘Intel’]
Microsoft
เขียนโปรแกรมภาษา Python
- ตอนที่ 1 ทำความรู้จักกับภาษาไพธอน Python
- ตอนที่ 2 เตรียมเครื่องมือ
- ตอนที่ 3 Python Syntax
- ตอนที่ 4 การเขียนคอมเม้นต์
- ตอนที่ 5 การใช้ฟังก์ชัน print
- ตอนที่ 6 ตัวแปร
- ตอนที่ 7 การตั้งชื่อตัวแปร
- ตอนที่ 8 การกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายตัว
- ตอนที่ 9การแสดงค่าจากตัวแปร
- ตอนที่ 10 ตัวแปรประเภท Global
- ตอนที่ 11 ชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 12 ข้อมูลชนิดตัวเลข
- ตอนที่ 13 การแปลงชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 14 ข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 15 slice syntax
- ตอนที่ 16 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล String
- ตอนที่ 17 การต่อข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 18 การจัดรูปแบบ String
- ตอนที่ 19 Escape Character
- เตอนที่ 20 เมธอด zfill()
- ตอนที่ 21 เมธอด upper()
- ตอนที่ 22 เมธอด title()
- ตอนที่ 23 เมธอด swapcase()
- ตอนที่ 24 เมธอด strip()
- ตอนที่ 25 เมธอด startswith()
- ตอนที่ 26 เมธอด splitlines()
- ตอนที่ 27 เมธอด split()
- ตอนที่ 28 เมธอด rstrip()
- ตอนที่ 29 เมธอด rsplit()
- ตอนที่ 30 เมธอด rpartition()
- ตอนที่ 31 เมธอด rjust()
- ตอนที่ 32 เมธอด rindex()
- ตอนที่ 33 เมธอด rfind()
- ตอนที่ 34 เมธอด replace()
- ตอนที่ 35 เมธอด partition()
- ตอนที่ 36 เมธอด lstrip()
- ตอนที่ 37 เมธอด lower()
- ตอนที่ 38 เมธอด ljust()
- ตอนที่ 39 เมธอด join()
- ตอนที่ 40 เมธอด isupper()
- ตอนที่ 41 เมธอด istitle()
- ตอนที่ 42 เมธอด isspace()
- ตอนที่ 43 เมธอด isprintable()
- ตอนที่ 44 เมธอด isnumeric()
- ตอนที่ 45 เมธอด islower()
- ตอนที่ 46 เมธอด isidentifier()
- ตอนที่ 47 เมธอด isdigit()
- ตอนที่ 48 เมธอด isdecimal()
- ตอนที่ 49 เมธอด isalpha()
- ตอนที่ 50 เมธอด isalnum()
- ตอนที่ 51 เมธอด index()
- ตอนที่ 52 เมธอด format()
- ตอนที่ 53 เมธอด find()
- ตอนที่ 54 เมธอด expandtabs()
- ตอนที่ 55 เมธอด endswith()
- ตอนที่ 56 เมธอด encode()
- ตอนที่ 57 เมธอด count()
- ตอนที่ 58 เมธอด center()
- ตอนที่ 59 เมธอด casefold()
- ตอนที่ 60 เมธอด capitalize()
- ตอนที่ 61 เมธอด format_map()
- ตอนที่ 62 เมธอด maketrans()
- ตอนที่ 63 เมธอด translate()
- ตอนที่ 64 ข้อมูลชนิด Boolean
- ตอนที่ 65 ตัวดำเนินการ
- ตอนที่ 66 ข้อมูลประเภท List
- ตอนที่ 67 การเข้าถึงสมาชิกใน List
- ตอนที่ 68 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 69 การเพิ่มข้อมูลใน List
- ตอนที่ 70 การลบข้อมูลใน List
- ตอนที่ 71 การเข้าถึงข้อมูลใน List ด้วย loop
- ตอนที่ 72 List Comprehension
- ตอนที่ 73 การเรียงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 74 การคัดลอก List
- ตอนที่ 75 การรวม List เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 76 เมธอด append()
- ตอนที่ 77 เมธอด clear()
- ตอนที่ 78 เมธอด copy()
- ตอนที่ 79 เมธอด count()
- ตอนที่ 80 เมธอด extend()
- ตอนที่ 81 เมธอด index()
- ตอนที่ 82 เมธอด insert()
- ตอนที่ 83 เมธอด pop()
- ตอนที่ 84 เมธอด remove()
- ตอนที่ 85 เมธอด reverse()
- ตอนที่ 86 เมธอด sort()
- ตอนที่ 87 ข้อมูลชนิด Tuple
- ตอนที่ 88 การเข้าถึงข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 89 การแก้ไขข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 90 การแยกข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 91 เข้าถึงข้อมูลใน Tuple ด้วยลูป
- ตอนที่ 92 การรวม Tuple เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 93 เมธอด count()
- ตอนที่ 94 เมธอด index()
- ตอนที่ 95 ข้อมูลประเภท Set
- ตอนที่ 96 การเข้าถึงข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 97 การเพิ่มข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 98 การลบข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 99 การเข้าถึงข้อมูลใน Set ด้วยลูป for
- ตอนที่ 100 การจอย Join ข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 101 เมธอด add()
- ตอนที่ 102 เมธอด clear()
- ตอนที่ 103 เมธอด copy()
- ตอนที่ 104 เมธอด difference()
- ตอนที่ 105 เมธอด difference_update()
- ตอนที่ 106 เมธอด discard()
- ตอนที่ 107 เมธอด intersection()
- ตอนที่ 108 เมธอด intersection_update()
- ตอนที่ 109 เมธอด isdisjoint()
- ตอนที่ 110 เมธอด issubset()
- ตอนที่ 111 เมธอด issuperset()
- ตอนที่ 112 เมธอด pop()
- ตอนที่ 113 เมธอด remove()
- ตอนที่ 114 เมธอด symmetric_difference()
- ตอนที่ 115 เมธอด symmetric_difference_update()
- ตอนที่ 116 เมธอด union()
- ตอนที่ 117 เมธอด update()
- ตอนที่ 118 ข้อมูลประเภท Dictionary