
เขียนโปรแกรมภาษา Python ตอนที่ 10 ตัวแปรประเภท Global
ตัวแปรแบบ Global คือตัวแปรใด ๆ ที่สร้างไว้นอกฟังก์ชัน ซึ่งจะสามารถเรียกใช้ได้ทั้งในฟังก์ชันและนอกฟังก์ชัน
quality = "good" def show(): print("Python is " + quality) show() print("Java is " + quality) # Python is good # Java is good

- บรรทัดที่ 1 สร้างตัวแปร quality ไว้นอกฟังก์ชัน
- บรรทัดที่ 4 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายในฟังก์ชัน
- บรรทัดที่ 8 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายนอกฟังก์ชัน
จะเห็นได้ว่า ตัวแปร quality สามารถเรียกใช้ได้ทั้งภายในและภายนอกฟังก์ชัน เพราะเป็นตัวแปรแบบ Global นั่นเอง
ถ้าเราสร้างตัวแปรที่มีชื่อเดียวกันทั้งภายในและภายนอกฟังก์ชัน ตัวแปรทั้ง 2 ตัว จะถือว่าเป็นคนละตัวแปรกัน ถึงแม้จะมีชื่อเดียวกันก็ตาม โดย
- ตัวแปรที่สร้างไว้นอกฟังก์ชัน จะเป็นตัวแปรแปรประเภท Global สามารถเรียกใช้งานได้ทุกที่
- ตัวแปรที่สร้างไว้ภายในฟังก์ชัน จะเป็นตัวแปรประเภท Local สามารถเรียกใช้งานได้เฉพาะในฟังก์ชันนั้นเท่านั้น
- การกำหนดค่าให้กับตัวแปรที่อยู่ภายในฟังก์ชัน (Local) จะไม่มีผลกับค่าของตัวแปรที่อยู่นอกฟังก์ชัน (Global)
quality = "good" def show(): quality = "best" print("Python is " + quality) show() print("Python is " + quality) # Python is best # Python is good

- ตัวแปร quality ในบรรทัดที่ 1 เป็นตัวแปรแบบ Global เพราะสร้างไว้นอกฟังก์ชัน
- ตัวแปร quality ในบรรทัดที่ 4 เป็นตัวแปรแบบ Local เพราะสร้างไว้ภายในฟังก์ชัน
- ตัวแปร quality ทั้ง 2 ตัว ถึงจะมีชื่อเดียวกัน แต่ถือว่าไม่เกี่ยวข้องกัน
การใช้คีย์เวิร์ด global
อย่างไรก็ตาม ถ้าต้องการสร้างตัวแปรแบบ Global ไว้ภายในฟังก์ชัน ก็สามารถทำได้เช่นกัน โดยการระบุคีย์เวิร์ด global
ไว้ข้างหน้าตัวแปร ซึ่งจะมีผลทำให้ตัวแปรนั้นสามารถเรียกใช้จากภายนอกฟังก์ชันได้ด้วย
def show(): global quality quality = "best" print("Python is " + quality) show() print("Python is " + quality) # Python is best # Python is best

- บรรทัดที่ 2 สร้างตัวแปรชื่อ quality ภายในฟังก์ชัน โดยระบุคีย์เวิร์ด global ไว้ด้านหน้า ทำให้ตัวแปรดังกล่าวเป็นตัวแปรประเภท Global
- บรรทัดที่ 3 กำหนดค่าให้กับตัวแปร quality ด้วยวิธีปกติ
- บรรทัดที่ 4 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายในฟังก์ชัน
- บรรทัดที่ 8 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายนอกฟังก์ชันได้อย่างไม่มีปัญหา
ด้วยคีย์เวิร์ด global
เราสามารถเปลี่ยนแปลงค่าของตัวแปรประเภท Global ภายในฟังก์ชันได้ ดัวตัวอย่างต่อไปนี้
quality = "good" print("Python is " + quality) def show(): global quality quality = "best" print("Python is " + quality) show() print("Python is " + quality) # Python is good # Python is best # Python is best

- บรรทัดที่ 1 สร้างตัวแปร quality ไว้ภายนอกฟังก์ชัน (เป็นตัวแปร Global โดยอัตโนมัติ)
- บรรทัดที่ 2 เรียกใช้ตัวแปร quality ตามปกติ (จะได้ค่าตามที่กำหนดไว้)
- บรรทัดที่ 4 อ้างถึงตัวแปร quality ที่อยู่นอกฟังก์ชัน ด้วยการระบุคีย์เวิร์ด
global
- บรรทัดที่ 5 กำหนดค่าใหม่ให้กับตัวแปร quality (มีผลกับตัวแปร quality ที่อยู่นอกฟังก์ชัน)
- บรรทัดที่ 6 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายในฟังก์ชัน (จะได้ค่าที่กำหนดใหม่)
- บรรทัดที่ 10 เรียกใช้ตัวแปร quality ภายนอกฟังก์ชัน (จะได้ค่าที่กำหนดใหม่เช่นกัน เพราะค่าถูกเปลี่ยนภายในฟังก์ชันไปแล้ว)
เขียนโปรแกรมภาษา Python
- ตอนที่ 1 ทำความรู้จักกับภาษาไพธอน Python
- ตอนที่ 2 เตรียมเครื่องมือ
- ตอนที่ 3 Python Syntax
- ตอนที่ 4 การเขียนคอมเม้นต์
- ตอนที่ 5 การใช้ฟังก์ชัน print
- ตอนที่ 6 ตัวแปร
- ตอนที่ 7 การตั้งชื่อตัวแปร
- ตอนที่ 8 การกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายตัว
- ตอนที่ 9การแสดงค่าจากตัวแปร
- ตอนที่ 10 ตัวแปรประเภท Global
- ตอนที่ 11 ชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 12 ข้อมูลชนิดตัวเลข
- ตอนที่ 13 การแปลงชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 14 ข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 15 slice syntax
- ตอนที่ 16 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล String
- ตอนที่ 17 การต่อข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 18 การจัดรูปแบบ String
- ตอนที่ 19 Escape Character
- เตอนที่ 20 เมธอด zfill()
- ตอนที่ 21 เมธอด upper()
- ตอนที่ 22 เมธอด title()
- ตอนที่ 23 เมธอด swapcase()
- ตอนที่ 24 เมธอด strip()
- ตอนที่ 25 เมธอด startswith()
- ตอนที่ 26 เมธอด splitlines()
- ตอนที่ 27 เมธอด split()
- ตอนที่ 28 เมธอด rstrip()
- ตอนที่ 29 เมธอด rsplit()
- ตอนที่ 30 เมธอด rpartition()
- ตอนที่ 31 เมธอด rjust()
- ตอนที่ 32 เมธอด rindex()
- ตอนที่ 33 เมธอด rfind()
- ตอนที่ 34 เมธอด replace()
- ตอนที่ 35 เมธอด partition()
- ตอนที่ 36 เมธอด lstrip()
- ตอนที่ 37 เมธอด lower()
- ตอนที่ 38 เมธอด ljust()
- ตอนที่ 39 เมธอด join()
- ตอนที่ 40 เมธอด isupper()
- ตอนที่ 41 เมธอด istitle()
- ตอนที่ 42 เมธอด isspace()
- ตอนที่ 43 เมธอด isprintable()
- ตอนที่ 44 เมธอด isnumeric()
- ตอนที่ 45 เมธอด islower()
- ตอนที่ 46 เมธอด isidentifier()
- ตอนที่ 47 เมธอด isdigit()
- ตอนที่ 48 เมธอด isdecimal()
- ตอนที่ 49 เมธอด isalpha()
- ตอนที่ 50 เมธอด isalnum()
- ตอนที่ 51 เมธอด index()
- ตอนที่ 52 เมธอด format()
- ตอนที่ 53 เมธอด find()
- ตอนที่ 54 เมธอด expandtabs()
- ตอนที่ 55 เมธอด endswith()
- ตอนที่ 56 เมธอด encode()
- ตอนที่ 57 เมธอด count()
- ตอนที่ 58 เมธอด center()
- ตอนที่ 59 เมธอด casefold()
- ตอนที่ 60 เมธอด capitalize()
- ตอนที่ 61 เมธอด format_map()
- ตอนที่ 62 เมธอด maketrans()
- ตอนที่ 63 เมธอด translate()
- ตอนที่ 64 ข้อมูลชนิด Boolean
- ตอนที่ 65 ตัวดำเนินการ
- ตอนที่ 66 ข้อมูลประเภท List
- ตอนที่ 67 การเข้าถึงสมาชิกใน List
- ตอนที่ 68 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 69 การเพิ่มข้อมูลใน List
- ตอนที่ 70 การลบข้อมูลใน List
- ตอนที่ 71 การเข้าถึงข้อมูลใน List ด้วย loop
- ตอนที่ 72 List Comprehension
- ตอนที่ 73 การเรียงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 74 การคัดลอก List
- ตอนที่ 75 การรวม List เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 76 เมธอด append()
- ตอนที่ 77 เมธอด clear()
- ตอนที่ 78 เมธอด copy()
- ตอนที่ 79 เมธอด count()
- ตอนที่ 80 เมธอด extend()
- ตอนที่ 81 เมธอด index()
- ตอนที่ 82 เมธอด insert()
- ตอนที่ 83 เมธอด pop()
- ตอนที่ 84 เมธอด remove()
- ตอนที่ 85 เมธอด reverse()
- ตอนที่ 86 เมธอด sort()
- ตอนที่ 87 ข้อมูลชนิด Tuple
- ตอนที่ 88 การเข้าถึงข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 89 การแก้ไขข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 90 การแยกข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 91 เข้าถึงข้อมูลใน Tuple ด้วยลูป
- ตอนที่ 92 การรวม Tuple เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 93 เมธอด count()
- ตอนที่ 94 เมธอด index()
- ตอนที่ 95 ข้อมูลประเภท Set
- ตอนที่ 96 การเข้าถึงข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 97 การเพิ่มข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 98 การลบข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 99 การเข้าถึงข้อมูลใน Set ด้วยลูป for
- ตอนที่ 100 การจอย Join ข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 101 เมธอด add()
- ตอนที่ 102 เมธอด clear()
- ตอนที่ 103 เมธอด copy()
- ตอนที่ 104 เมธอด difference()
- ตอนที่ 105 เมธอด difference_update()
- ตอนที่ 106 เมธอด discard()
- ตอนที่ 107 เมธอด intersection()
- ตอนที่ 108 เมธอด intersection_update()
- ตอนที่ 109 เมธอด isdisjoint()
- ตอนที่ 110 เมธอด issubset()
- ตอนที่ 111 เมธอด issuperset()
- ตอนที่ 112 เมธอด pop()
- ตอนที่ 113 เมธอด remove()
- ตอนที่ 114 เมธอด symmetric_difference()
- ตอนที่ 115 เมธอด symmetric_difference_update()
- ตอนที่ 116 เมธอด union()
- ตอนที่ 117 เมธอด update()
- ตอนที่ 118 ข้อมูลประเภท Dictionary
- ตอนที่ 119 การเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 120 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 121 การเพิ่มข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 122 การลบข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 123 การวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary
- ตอนที่ 124 การคัดลอก Dictionary
- ตอนที่ 125 Dictionary ซ้อนกัน
- ตอนที่ 126 เมธอด clear()
- ตอนที่ 127 เมธอด copy()
- ตอนที่ 128 เมธอด fromkeys()
- ตอนที่ 129 เมธอด get()
- ตอนที่ 130 เมธอด items()
- ตอนที่ 131 เมธอด keys()
- ตอนที่ 132 เมธอด pop()
- ตอนที่ 133 เมธอด popitem()
- ตอนที่ 134 เมธอด setdefault()
- ตอนที่ 135 เมธอด update()
- ตอนที่ 136 เมธอด values()
- ตอนที่ 137 การตรวจสอบเงื่อนไขด้วย If statement
- ตอนที่ 138 การใช้ while loop