
เขียนโปรแกรมภาษา Python ตอนที่ 11 ชนิดข้อมูล
Python Data Types ชนิดข้อมูลในภาษาไพธอน มีให้เลือกใช้งานหลากหลายเช่นเดียวกับภาษาโปรแกรมอื่น ๆ และชนิดข้อมูลแต่ละชนิดก็มีเป้าหมายในการใช้งานที่แตกต่างกัน
ในภาษาไพธอน มีชนิดข้อมูลให้ใช้งานดังนี้
กลุ่มชนิดข้อมูล | ชนิดข้อมูล |
ข้อมูลประเภทตัวอักษร | str |
ข้อมูลประเภทตัวเลข | int, float, complex |
ข้อมูลประเภท Sequence | list, tuple, range |
ข้อมูลประเภท Mapping | dict |
ข้อมูลประเภทเซ็ท Set | set, frozenset |
ข้อมูลประเภทค่าความจริง | bool |
ข้อมูลประเภทไบนารี่ | bytes, bytearray, memoryview |
การตรวจสอบชนิดข้อมูลของตัวแปร
เราสามารถตรวจสอบชนิดข้อมูลของตัวแปรโดยใช้ฟังก์ชัน type() ดังตัวอย่าง
a = 'www.dcrub.com' b = 2020 c = True print('Type of a : ') print(type(a)) print('Type of b : ') print(type(b)) print('Type of c : ') print(type(c))
จากโค้ดตัวอย่าง เราใช้ฟังก์ชัน type() เพื่อดึงค่าชนิดของตัวแปรออกมา ผลลัพธ์จะได้เป็นชนิดของตัวแปรนั้น ๆ
- บรรทัดที่ 1 สร้างตัวแปร a ขึ้นมา พร้อมกำหนดค่าเป็นข้อความ ‘www.dcrub.com’ ทำให้ตัวแปร a มีชนิดข้อมูลเป็น string โดยอัตโนมัติ
- บรรทัดที่ 5 เรียกใช้ฟังก์ชัน type() โดยส่งตัวแปร a เป็นอากิวเมนต์เข้าไป และให้แสดงผลออกทางหน้าจอโดยฟังก์ชัน print()
ผลลัพธ์

การกำหนดชนิดข้อมูลให้ตัวแปรในภาษาไพธอน
ในภาษาไพธอน ชนิดข้อมูลจะขึ้นอยู่กับข้อมูลที่เรากำหนดให้กับตัวแปร เช่น ถ้าเราสร้างตัวแปร x ขึ้นมา แล้วกำหนดค่าเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม เช่น 40 ตัวแปร x ก็จะมีชนิดข้อมูลเป็น int โดยอัตโนมัติ เช่น
x = ["Wanchai", "Wanida", "Jirawan"] print("Type of x : ") print(type(x)) x = ("Wanchai", "Wanida", "Jirawan") print("Type of x : ") print(type(x)) x = {"name" : "Jirawan", "age" : 25} print("Type of x : ") print(type(x)) x = {"Wanchai", "Wanida", "Jirawan"} print("Type of x : ") print(type(x))
- บรรทัดที่ 1 สร้างตัวแปร x ขึ้นมา โดยกำหนดค่าเป็น [“Wanchai”, “Wanida”, “Jirawan”] ตัวแปร x จะมีชนิดข้อมูลเป็น list โดยอัตโนมัติ เพราะโครงสร้างของค่าที่เรากำหนดให้ตัวแปรเป็นข้อมูลประเภท list
- บรรทัดที่ 3 ใช้ฟังก์ชัน type() เพื่อดังชนิดข้อมูลของตัวแปร x ออกมาแสดงผ่านฟังก์ชัน print()
ผลลัพธ์

การกำหนดชนิดข้อมูลให้ตัวแปรแบบเฉพาะเจาะจง
ถ้าเราต้องการกำหนดเจาะจงลงไปเลยว่า ให้ตัวแปรตัวนั้นเก็บข้อมูลชนิดไหน สามารถทำได้โดยการใช้ constructor functions ดังนี้
x = list(("Wanchai", "Wanida", "Jirawan")) print(x) print(type(x)) x = tuple(("Wanchai", "Wanida", "Jirawan")) print(x) print(type(x)) x = dict(name="Jirawan", age=25) print(x) print(type(x)) x = set(("Wanchai", "Wanida", "Jirawan")) print(x) print(type(x))
- บรรทัดที่ 1 สร้างตัวแปร x ขึ้นมา และกำหนดค่าพร้อมทั้งกำหนดชนิดข้อมูลเป็นประเภท list ด้วยในคราวเดียวกัน
- บรรทัดที่ 2 ใช้ฟังก์ชัน print() ให้แสดงค่าของตัวแปร x ออกมา
- บรรทัดที่ 3 ใช้ฟังก์ชัน type() โดยส่งตัวแปร x เป็นอากิวเมนต์เข้าไป เพื่อดึงชนิดข้อมูลของตัวแปร x ออกมาแสดงผ่านฟังก์ชัน print()
ผลลัพธ์

เขียนโปรแกรมภาษา Python
- ตอนที่ 1 ทำความรู้จักกับภาษาไพธอน Python
- ตอนที่ 2 เตรียมเครื่องมือ
- ตอนที่ 3 Python Syntax
- ตอนที่ 4 การเขียนคอมเม้นต์
- ตอนที่ 5 การใช้ฟังก์ชัน print
- ตอนที่ 6 ตัวแปร
- ตอนที่ 7 การตั้งชื่อตัวแปร
- ตอนที่ 8 การกำหนดค่าให้ตัวแปรทีละหลายตัว
- ตอนที่ 9การแสดงค่าจากตัวแปร
- ตอนที่ 10 ตัวแปรประเภท Global
- ตอนที่ 11 ชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 12 ข้อมูลชนิดตัวเลข
- ตอนที่ 13 การแปลงชนิดข้อมูล
- ตอนที่ 14 ข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 15 slice syntax
- ตอนที่ 16 การเปลี่ยนแปลงข้อมูล String
- ตอนที่ 17 การต่อข้อมูลชนิด String
- ตอนที่ 18 การจัดรูปแบบ String
- ตอนที่ 19 Escape Character
- เตอนที่ 20 เมธอด zfill()
- ตอนที่ 21 เมธอด upper()
- ตอนที่ 22 เมธอด title()
- ตอนที่ 23 เมธอด swapcase()
- ตอนที่ 24 เมธอด strip()
- ตอนที่ 25 เมธอด startswith()
- ตอนที่ 26 เมธอด splitlines()
- ตอนที่ 27 เมธอด split()
- ตอนที่ 28 เมธอด rstrip()
- ตอนที่ 29 เมธอด rsplit()
- ตอนที่ 30 เมธอด rpartition()
- ตอนที่ 31 เมธอด rjust()
- ตอนที่ 32 เมธอด rindex()
- ตอนที่ 33 เมธอด rfind()
- ตอนที่ 34 เมธอด replace()
- ตอนที่ 35 เมธอด partition()
- ตอนที่ 36 เมธอด lstrip()
- ตอนที่ 37 เมธอด lower()
- ตอนที่ 38 เมธอด ljust()
- ตอนที่ 39 เมธอด join()
- ตอนที่ 40 เมธอด isupper()
- ตอนที่ 41 เมธอด istitle()
- ตอนที่ 42 เมธอด isspace()
- ตอนที่ 43 เมธอด isprintable()
- ตอนที่ 44 เมธอด isnumeric()
- ตอนที่ 45 เมธอด islower()
- ตอนที่ 46 เมธอด isidentifier()
- ตอนที่ 47 เมธอด isdigit()
- ตอนที่ 48 เมธอด isdecimal()
- ตอนที่ 49 เมธอด isalpha()
- ตอนที่ 50 เมธอด isalnum()
- ตอนที่ 51 เมธอด index()
- ตอนที่ 52 เมธอด format()
- ตอนที่ 53 เมธอด find()
- ตอนที่ 54 เมธอด expandtabs()
- ตอนที่ 55 เมธอด endswith()
- ตอนที่ 56 เมธอด encode()
- ตอนที่ 57 เมธอด count()
- ตอนที่ 58 เมธอด center()
- ตอนที่ 59 เมธอด casefold()
- ตอนที่ 60 เมธอด capitalize()
- ตอนที่ 61 เมธอด format_map()
- ตอนที่ 62 เมธอด maketrans()
- ตอนที่ 63 เมธอด translate()
- ตอนที่ 64 ข้อมูลชนิด Boolean
- ตอนที่ 65 ตัวดำเนินการ
- ตอนที่ 66 ข้อมูลประเภท List
- ตอนที่ 67 การเข้าถึงสมาชิกใน List
- ตอนที่ 68 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 69 การเพิ่มข้อมูลใน List
- ตอนที่ 70 การลบข้อมูลใน List
- ตอนที่ 71 การเข้าถึงข้อมูลใน List ด้วย loop
- ตอนที่ 72 List Comprehension
- ตอนที่ 73 การเรียงข้อมูลใน List
- ตอนที่ 74 การคัดลอก List
- ตอนที่ 75 การรวม List เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 76 เมธอด append()
- ตอนที่ 77 เมธอด clear()
- ตอนที่ 78 เมธอด copy()
- ตอนที่ 79 เมธอด count()
- ตอนที่ 80 เมธอด extend()
- ตอนที่ 81 เมธอด index()
- ตอนที่ 82 เมธอด insert()
- ตอนที่ 83 เมธอด pop()
- ตอนที่ 84 เมธอด remove()
- ตอนที่ 85 เมธอด reverse()
- ตอนที่ 86 เมธอด sort()
- ตอนที่ 87 ข้อมูลชนิด Tuple
- ตอนที่ 88 การเข้าถึงข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 89 การแก้ไขข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 90 การแยกข้อมูลใน Tuple
- ตอนที่ 91 เข้าถึงข้อมูลใน Tuple ด้วยลูป
- ตอนที่ 92 การรวม Tuple เข้าด้วยกัน
- ตอนที่ 93 เมธอด count()
- ตอนที่ 94 เมธอด index()
- ตอนที่ 95 ข้อมูลประเภท Set
- ตอนที่ 96 การเข้าถึงข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 97 การเพิ่มข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 98 การลบข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 99 การเข้าถึงข้อมูลใน Set ด้วยลูป for
- ตอนที่ 100 การจอย Join ข้อมูลใน Set
- ตอนที่ 101 เมธอด add()
- ตอนที่ 102 เมธอด clear()
- ตอนที่ 103 เมธอด copy()
- ตอนที่ 104 เมธอด difference()
- ตอนที่ 105 เมธอด difference_update()
- ตอนที่ 106 เมธอด discard()
- ตอนที่ 107 เมธอด intersection()
- ตอนที่ 108 เมธอด intersection_update()
- ตอนที่ 109 เมธอด isdisjoint()
- ตอนที่ 110 เมธอด issubset()
- ตอนที่ 111 เมธอด issuperset()
- ตอนที่ 112 เมธอด pop()
- ตอนที่ 113 เมธอด remove()
- ตอนที่ 114 เมธอด symmetric_difference()
- ตอนที่ 115 เมธอด symmetric_difference_update()
- ตอนที่ 116 เมธอด union()
- ตอนที่ 117 เมธอด update()
- ตอนที่ 118 ข้อมูลประเภท Dictionary
- ตอนที่ 119 การเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 120 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 121 การเพิ่มข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 122 การลบข้อมูลใน Dictionary
- ตอนที่ 123 การวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary
- ตอนที่ 124 การคัดลอก Dictionary
- ตอนที่ 125 Dictionary ซ้อนกัน
- ตอนที่ 126 เมธอด clear()
- ตอนที่ 127 เมธอด copy()
- ตอนที่ 128 เมธอด fromkeys()
- ตอนที่ 129 เมธอด get()
- ตอนที่ 130 เมธอด items()
- ตอนที่ 131 เมธอด keys()
- ตอนที่ 132 เมธอด pop()
- ตอนที่ 133 เมธอด popitem()
- ตอนที่ 134 เมธอด setdefault()
- ตอนที่ 135 เมธอด update()
- ตอนที่ 136 เมธอด values()
- ตอนที่ 137 การตรวจสอบเงื่อนไขด้วย If statement
- ตอนที่ 138 การใช้ while loop