ดีครับดอทคอม

ดีครับดอทคอม

HTML การสร้าง Link Bookmark

HTML การสร้าง Link Bookmark

HTML Link Bookmark ใช้สำหรับให้ผู้เข้าชมเว็บไซต์ สามารถคลิกเพื่อไปยังส่วนต่าง ๆ ในหน้าเว็บเพจเดียวกันได้สะดวก มีประโยชน์ในกรณีที่เนื้อหาในหน้าเว็บนั้น ๆ มีความยาวมาก ๆ สำหรับขั้นตอนการสร้าง Bookmark ก็ไม่ยาก โดยเริ่มที่การสร้างหัวข้อที่จะทำเป็น Bookmark ก่อน หลังจากนั้นก็สร้างลิงค์ไปยัง Bookmark ที่ได้สร้างเอาไว้ เมื่อผู้ใช้คลิกที่ลิงค์ ก็จะกระโดดไปยังบุ๊คมาร์กตามที่กำหนดทันที เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ได้เป็นอย่างดี ขั้นตอนการสร้าง Link Bookmark ขั้นตอนการสร้าง Link Bookmark ลำดับแรกให้สร้างหัวข้อที่จะทำเป็นบุ๊กมาร์ก โดยสามารถใช้แท็กใดก็ได้ ที่สำคัญคือต้องกำหนดแอททริบิวต์ id ให้กับแท็กนั้นด้วย ดังตัวอย่าง หลังจากนั้นสร้างลิงค์ด้วยแท็ก <a></a> เพื่อกระโดดไปยังบุ๊คมาร์คที่เราได้สร้างไว้ก่อนหน้านี้ โดยในแอททริบิวต์ href…

Python ตอนที่ 29 แบ่งข้อความใน String ด้วยเมธอด rsplit()

แบ่งข้อความใน String ด้วยเมธอด rsplit()

เมธอด rsplit() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับแบ่งสตริงโดยเราสามารถกำหนดได้ว่าจะให้ให้แบ่งด้วยอะไร เช่น แบ่งด้วยคอมม่า เป็นต้น แล้วคืนค่ากลับมาเป็น List โดยเริ่มจากด้านขวาของสตริง รูปแบบการใช้งานเมธอด rsplit() จะเป็นดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด rsplit() จากโค้ดตัวอย่าง เราแบ่งข้อมูลด้วยเครื่องหมาย คอมม่า ตามด้วยช่องว่าง “, ” โดยไม่ได้ระบุ maxsplit ทำให้ได้ผลลัพธ์เป็น List ที่มีอีลิเมนต์จำนวน 7 อีลิเมนต์ (แบ่งมากที่สุดเท่าที่จะแบ่งได้ ด้วยอักขระที่กำหนด) [‘Python’, ‘Swift’, ‘Kotlin’, ‘Java’, ‘C#’, ‘VB.NET’, ‘F#’] การใช้งานเมธอด rsplit() แบบระบุ…

Python ตอนที่ 30 แบ่ง String เป็นสามส่วน ด้วยเมธอด rpartition()

แบ่ง String เป็นสามส่วน ด้วยเมธอด rpartition()

เมธอด rpartition() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับค้นหาคำที่ระบุในสตริง โดยจะค้นหาจนเจอทำที่ระบุที่ปรากฏเป็นครั้งสุดท้ายในสตริง แล้วแบ่งสตริงออกเป็น 3 ส่วน แล้วคืนค่ากลับมาเป็น tuple ซึ่งสตริงที่ถูกแบ่งเป็น 3 ส่วนจะประกอบด้วย รูปแบบการใช้งานเมธอด rpartition() จะเป็นดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด rpartition() (‘I love Python. I love Python. I ‘, ‘love’, ‘ Python.’) ถ้าไม่เจอคำที่ค้นในสตริงจะได้ผลลัพธ์เป็น tuple ที่ประกอบด้วย 1. สตริงว่าง 2. สตริงว่าง 3. สตริงทั้งหมด (”, ”,…

Python ตอนที่ 31 จัดเรียงข้อความชิดขวาด้วยเมธอด rjust()

จัดเรียงข้อความชิดขวาด้วยเมธอด rjust()

เมธอด rjust() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับจัดเรียงสตริงให้อยู่ชิดขวา โดยจะเติมช่องว่าง (space) หรืออักขระที่กำหนดไว้ด้านซ้ายของสตริงให้ครบตามความยาวของสตริงที่กำหนด รูปแบบการใช้งานเมธอด rjust() จะเป็นดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด rjust() ใช้งานเมธอด rjust() แบบไม่ระบุ character สั่งปรินต์ข้อความ “Python” ให้ชิดขวา และระบุความยาวเป็น 20 ตัวอักษร โดยไม่ระบุ character ทำให้ได้ผลลัพธ์เป็น คือ ช่องว่าง (space) จำนวน 14 ตัว ตามด้วยข้อความ ‘Python’ ใช้งานเมธอด rjust() แบบระบุ character

Python ตอนที่ 32 ค้นหาตำแหน่งของข้อความหรืออักขระใน String ด้วยเมธอด rindex()

ค้นหาตำแหน่งของข้อความหรืออักขระใน String ด้วยเมธอด rindex()

เมธอด rindex() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับค้นหาข้อความหรืออักขระในสตริง โดยถ้าเจอ จะคืนค่าเป็นตำแหน่งที่ค้นเจอข้อความหรืออักขระนั้นเป็นครั้งสุดท้ายในสตริง แต่ถ้าไม่เจอจะเกิดข้อผิดพลาดขึ้น เมธอด rindex() มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด rindex() ใช้งานเมธอด rindex() โดยไม่ระบุ start และ end ใช้งานเมธอด rindex() โดยระบุ start และ end ถ้าไม่เจอผลลัพธ์จะเกิดข้อผิดพลาดขึ้น

Python ตอนที่ 33 ค้นหาตำแหน่งของข้อความหรืออักขระใน String ด้วยเมธอด rfind()

ค้นหาตำแหน่งของข้อความหรืออักขระใน String ด้วยเมธอด rfind()

เมธอด rfind() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับค้นหาข้อความหรืออักขระที่กำหนดในสตริงว่าปรากฏครั้งล่าสุดที่ตำแหน่งใด โดยถ้าเจอจะคืนค่าเป็นตำแหน่งของข้อความหรืออักขระที่ระบุ แต่ถ้าไม่เจอจะคืนค่าเป็น -1 การใช้งานเมธอด rfind() การใช้งานเมธอด rfind() มีรูปแบบดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด rfind() การใช้งานเมธอด rfind() โดยไม่ระบุ start และ end การใช้งานเมธอด rfind() โดยระบุ start และ end ถ้าไม่เจอคำที่ใช้ค้นหาในสตริง จะคืนค่าเป็ฯ -1

การจัดรูปแบบตัวอักษรใน Excel

การจัดรูปแบบตัวอักษรใน Excel

การจัดรูปแบบตัวอักษรหรือข้อความใน Excel ต้องเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์เป้าหมายก่อน หลังจากนั้นจึงเลือกคำสั่งจัดรูปแบบได้ตามต้องการ โดยมีวิธีการดังนี้ ลำดับแรกให้คลิกเลือกเซลล์หรือกลุ่มเซลล์ที่ต้องการจัดรูปแบบตัวอักษรเสียก่อน หลังจากนั้นคลิกที่แท็บ Home แล้วเลือกการตั้งค่าในส่วน Font สามารถตั้งค่าต่าง ๆ ได้ดังนี้ รูปแบบตัวอักษร เช่น ฟอนต์ ขนาด สีพื้นหลัง สีตัวอักษร เป็นต้น จะเปลี่ยนไปตามที่เรากำหนด

Python ตอนที่ 34 แทนที่คำใน String ด้วยเมธอด replace()

แทนที่คำใน String ด้วยเมธอด replace()

เมธอด replace() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับแทนที่คำที่กำหนดในสตริง ด้วยคำที่ระบุ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด replace() การใช้งานเมธอด replace() แบบไม่ระบุจำนวนครั้ง I love Kotlin. I love Kotlin. I love Kotlin. จากตัวอย่าง ใช้เมธอด replace() โดยไม่ระบุว่าจะให้แทนที่คำที่ระบุกี่ครั้ง Python จะแทนที่คำที่ระบุทุกคำที่ค้นเจอในสตริง การใช้งานเมธอด replace() แบบระบุจำนวนครั้ง I love Kotlin. I love Kotlin. I love Python. จากตัวอย่าง ใช้เมธอด…

Python ตอนที่ 35 แบ่งข้อความใน String ออกเป็น 3 ส่วนด้วยเมธอด partition()

แบ่งข้อความใน String ออกเป็น 3 ส่วนด้วยเมธอด partition()

เมธอด partition() เป็นเมธอดของสตริง สำหรับแบ่งข้อความในสตริงออกเป็น 3 ส่วน และคืนค่ากลับมาเป็น tuple มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ซึ่งข้อมูล 3 ส่วนที่ได้จะประกอบด้วย ตัวอย่างการใช้งานเมธอด partition() เมธอด partition() จะค้นหาคำที่ระบุเป็นพารามิเตอร์ แล้วแบ่งสตริงออกเป็น 3 อีลิเมนต์ (‘I love ‘, ‘Python’, ‘ Language.’)(”, ‘Python’, ‘ Is The Best Language.’)(‘My Favorite Language Is ‘, ‘Python’, ‘.’) ถ้าไม่มีคำที่ใช้ค้นหา จะคืนค่าเป็นดังนี้…

Python ตอนที่ 36 ตัดช่องว่างด้านซ้ายใน String ด้วยเมธอด lstrip()

ตัดช่องว่างด้านซ้ายใน String ด้วยเมธอด lstrip()

เมธอด lstrip() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตัดอักขระด้านซ้ายของสตริงตามที่ระบุ (หรือช่องว่าง ในกรณีที่ไม่ได้ระบุ) ออก มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด lstrip() PythonPython

Python ตอนที่ 37 แปลงตัวอักษรเป็นตัวพิมพ์เล็กด้วยเมธอด lower()

แปลงตัวอักษรเป็นตัวพิมพ์เล็กด้วยเมธอด lower()

เมธอด lower() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับแปลงตัวอักษรภาษาอังกฤษเป็นตัวพิมพ์เล็ก โดยจะไม่พิจารณาช่องว่าง (space) และสัญลักษณ์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด lower() hello pythonpython 2020

Python ตอนที่ 38 จัดข้อมูลชิดซ้ายด้วยเมธอด ljust()

จัดข้อมูลชิดซ้ายด้วยเมธอด ljust()

เมธอด ljust() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับจัดข้อมูลให้อยู่ชิดด้านซ้าย มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด ljust()

Python ตอนที่ 39 รวมข้อมูลแบบรายการด้วยเมธอด join()

รวมข้อมูลแบบรายการด้วยเมธอด join()

เมธอด join() เป็นเมธอดที่ใช้สำหรับรวม (Join) ข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบรายการ เช่น tuple() dictionary เป็นต้น เข้าเป็นสตริงเดียวกัน Syntax เมธอด join() มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด join() Python+Java+Kotlinname-country กรณีที่ใช้เมธอด join() กับข้อมูลประเภท dictionary ค่าที่ได้ออกมาจะเป็น keys ไม่ใช่ values

Python ตอนที่ 40 ตรวจสอบว่าอักขระทั้งหมดในสตริงเป็นตัวพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ด้วยเมธอด isupper()

ตรวจสอบว่าอักขระทั้งหมดในสตริงเป็นตัวพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ด้วยเมธอด isupper()

เมธอด isupper() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระทั้งหมดในสตริงเป็นตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ถ้าใช้จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False แต่จะไม่รวมตัวเลข สัญลักษณ์ และช่องว่าง (space) เมธอด isupper() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isupper() FalseFalseTrueTrue

การใช้งานลิงก์ Links ใน HTML

การใช้งานลิงก์ Links ใน HTML

ลิงก์ Link หรือ Hyperlink คือ url ของหน้าเว็บเพจใด ๆ ที่เราคลิกแล้วจะนำเราเข้าไปสู่หน้าเว็บเพจนั้น ๆ ได้ อาจอยู่ในรูปแบบของข้อความหรือรูปภาพ หรืออื่น ๆ การใช้งานลิงก์ใน HTML สามารถใช้ได้โดยใช้แท็ก <a> โดยมีรูปแบบดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานแท็ก <a> ถ้าเป็นการสร้างลิงก์ไปยังหน้าอื่น ๆ ในเว็บเพจเดียวกัน สามารถทำได้โดยไม่ต้องระบุ url แบบเต็ม ให้ระบุแบบ relative URL ก็ได้ เช่น Target Attribute Target Attribute คือแอททริบิวต์ที่ระบุว่า จะให้เปิดลิงก์ไปที่ไหน เช่น เปิดในหน้าเดิม…

Python ตอนที่ 41 ตรวจสอบว่าแต่ละคำใน String ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ด้วยเมธอด istitle()

ตรวจสอบว่าแต่ละคำใน String ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ด้วยเมธอด istitle()

เมธอด istitle() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่า แต่ละคำในสตริง ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่หรือไม่ ถ้าใช่ จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False โดยมีเงื่อนไขอยู่ว่า ต้องเป็นตัวอักษรตังแรกของแต่ละคำเท่านั้นที่เป็นตัวพิมพ์ใหญ่ ถ้าตัวอักษรถัดมาเป็นตัวพิมพ์ใหญ่ด้วย จะไม่เข้าเงื่อนไข เช่น “Hello Python” แบบนี้จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าเป็น “Hello PYthon” แบบนี้จะคืนค่าเป็น False เมธอด istitle() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด istitle() FalseTrueTrueTrueFalse

Python ตอนที่ 42 ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นช่องว่างทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isspace()

ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นช่องว่างทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isspace()

เมธอด isspace() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่า อักขระทั้งหมดในสตริงเป็นช่องว่าง ( whitespaces ) หรือไม่ ถ้าใช่จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False เมธอด isspace() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isspace() FalseFalseTrue

Python ตอนที่ 43 ตรวจสอบว่าอักขระใน String สามารถแสดงผลได้หรือไม่ ด้วยเมธอด isprintable()

ตรวจสอบว่าอักขระใน String สามารถแสดงผลได้หรือไม่ ด้วยเมธอด isprintable()

เมธอด isprintable() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่า อักขระในสตริงสามารถปริ้นต์ออกมาแสดงผลทางหน้าจอได้ทั้งหมดหรือไม่ ถ้าได้จะคืนค่าเป็น True ถ้าไม่ จะคืนค่าเป็น False อักขระที่ไม่สามารถแสดงผลออกทางหน้าจอได้ ก็เช่น \n สำหรับขึ้นบรรทัดใหม่ หรืออักขระอื่น ๆ ที่ใช้งานลักษณะเดียวกันนี้ เมธอด isprintable() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isprintable() FalseTrue

Python ตอนที่ 44 ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isnumeric()

ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isnumeric()

เมธอด isnumeric() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระในสตริงทั้งหมดเป็นตัวเลข 0-9 หรือไม่ ถ้าใช่จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False โดยที่ตัวเลขยกกำลัง เช่น ² และ ¾ จะถูกพิจารณาว่าเป็นตัวเลขด้วย เมธอด isnumeric() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isnumeric() TrueTrueFalseTrue

ตอนที่ 45 ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด islower()

ตรวจสอบว่าอักขระใน String เป็นตัวพิมพ์เล็กทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด islower()

เมธอด islower() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระในสตริงเป็นตัวอักษรพิมพ์เล็กทั้งหมดหรือไม่ ถ้าใช่ จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False โดยจะไม่ตรวจสอบตัวเลข สัญลักษณ์ และช่องว่าง (Space) จะตรวจสอบเฉพาะตัวอักษร (a-z) เท่านั้น เมธอด islower() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด islower() TrueTrueFalse

Python ตอนที่ 46 ตรวจสอบว่า String เป็น Identifier หรือไม่ ด้วยเมธอด isidentifier()

ตรวจสอบว่า String เป็น Identifier หรือไม่ ด้วยเมธอด isidentifier()

เมธอด isidentifier() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระในสตริงเป็น valid identifier หรือไม่ ถ้าใช่ จะคืนค่าเป็น True ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False สตริงที่จะเป็น valid identifier ได้นั้น จะต้องเป็นสตริงที่ประกอบด้วยตัวอักษร (a-z) และ (0-9) หรือ underscores (_) เท่านั้น นอกจากนั้น valid identifier จะต้องไม่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข และต้องไม่มีช่องว่าง (Space) อยู่ด้วย เมธอด isidentifier() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isidentifier() TrueTrueTrueFalseFalse

Python ตอนที่ 47 ตรวจสอบว่า String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isdigit()

ตรวจสอบว่า String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isdigit()

เมธอด isdigit() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระทั้งหมดในสตริงเป็นตัวเลขหรือไม่ โดยถ้าใช่ จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False ในกรณีที่เป็นเลขยกกำลัง ก็จะถือว่าเป็นตัวเลขด้วยเช่นกัน เมธอด isdigit() ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isdigit() FalseTrueFalse จากตัวอย่างด้านบน x จะมีค่าเป็น False เพราะ “Python” ไม่ใช่ตัวเลข y จะมีค่าเป็น True เพราะ “1234” เป็นตัวเลข ส่วน z จะมีค่าเป็น False เพราะ “Python2020” ไม่ใช่ตัวเลขทั้งหมด การใช้งานเมธอดกับรหัส…

Python ตอนที่ 48 ตรวจสอบว่า String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isdecimal()

ตรวจสอบว่า String เป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isdecimal()

เมธอด isdecimal() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่า อักขระในสตริงเป็นตัวเลขทั้งหมดหรือไม่ โดยจะคืนค่า True หากอักขระทั้งหมดในสตริงเป็นตัวเลข ถ้าไม่ใช่จะคืนค่าเป็น False เมธอด isdecimal() เป็นเมธอดที่ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isdecimal() FalseTrueFalse จากโค้ดตัวอย่าง เฉพาะ “1234” เท่านั้นที่เป็น Decimal นอกนั้นไม่ใช่ เมธอด isdecimal() ใช้ตรวจสอบออบเจ็กต์ unicode ได้ด้วย ดังตัวอย่าง TrueFalse จาดโค้ดด้านบน เมื่อตรวจสอบตัวแปร x ด้วยเมธอด isdecimal() จะได้ค่าเป็น True เพราะ “\u0033” เป็นรหัส…

Python ตอนที่ 49 ตรวจสอบว่าสตริง เป็นตัวอักษรทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isalpha()

ตรวจสอบว่าสตริง เป็นตัวอักษรทั้งหมดหรือไม่ ด้วยเมธอด isalpha()

เมธอด isalpha() เป็นเมธอดของสตริง ใช้สำหรับตรวจสอบว่าอักขระในสตริงเป็นตัวอักษร (a-z) ทั้งหมดหรือไม่ โดยถ้าใช่ จะคืนค่าเป็น True แต่ถ้าไม่ใช่ จะคืนค่าเป็น False ตัวอย่างอักขระที่ไม่ใช่ตัวอักษรก็เช่น ช่องว่าง (space) ! # % & ? และอักขระอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก ตัวอักษร (a-z) เมธอด isalpha() ไม่มีพารามิเตอร์ มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด isalpha() TrueFalseFalse จากโค้ดตัวอย่าง x จะมีค่าเป็น True เพราะอักขระ Python เป็นตัวอักษรทั้งหมด ส่วน…