ดีครับดอทคอม

ดีครับดอทคอม

Word 2021 การย่อ/ขยาย Ribbon

Word 2021 การย่อ/ขยาย Ribbon

ใน Word 2021 แถบด้านบนจะแสดง Ribbon ซึ่งใช้สำหรับรวบรวมคำสั่งการทำงานต่าง ๆ เป็นหมวดหมู่ ซึ่งตรงนี้จะกินเนื้อที่ประมาณหนึ่ง การย่อ Ribbon ถ้าเราต้องการพื้นที่การทำงานมากขึ้น เราสามารถย่อ Ribbon นี้ลงได้ โดยมีวิธีการดังนี้ หรือคลิกที่สัญลักษณ์ ที่มุมล่างด้านขวาของ Ribbon ก็ได้เช่นกัน Ribbon จะถูกย่อลง เหลือเพียงแท็บคำสั่งหลักเท่านั้น ถ้าต้องการทำงานกับคำสั่งใด หรือต้องการเรียกดูคำสั่งย่อยของคำสั่งใด ก็เพียงแค่คลิกที่แท็บคำสั่งนั้น ๆ Ribbon ก็จะถูกขยายออกมา ให้เราสามารถคลิกเลือกคำสั่งการทำงานต่าง ๆ ได้ตามต้องการ หลังจากนั้น Ribbon ก็จะย่อกลับตามเดิม การขยาย Ribbon ถ้าต้องการให้ Ribbon ขยายใหญ่เหมือนเดิม…

Python ตอนที่ 125 Dictionary ซ้อนกัน

Dictionary ซ้อนกัน

ข้อมูลประเภท Dictionary สามารถเก็บข้อมูลได้ทุกประเภท รวมถึง Dictionary ด้วย นั่นคือเราสามารถเก็บข้อมูลประเภท Dictionary ซ้อนกันได้ เรียกว่า nested dictionaries ตัวอย่าง {‘firstname’: ‘Somchai’, ‘lastname’: ‘Jaidee’, ‘age’: 47, ‘tels’: {‘home’: ‘08124561xx’, ‘work’: ‘0254789xx’}} {‘student1’: {‘firstname’: ‘Somchai’, ‘lastname’: ‘Jaidee’, ‘age’: 15}, ‘student2’: {‘firstname’: ‘Somying’, ‘lastname’: ‘Yingruea’, ‘age’: 15}, ‘student3’: {‘firstname’:…

Python ตอนที่ 124 การคัดลอกข้อมูลประเภท Dictionary

การคัดลอกข้อมูลประเภท Dictionary

ถ้าต้องการคัดลอกข้อมูลประเภท Dictionary สามารถทำได้โดยใช้เมธอด copy() ผลลัพธ์ ตัวแปร myDict มีข้อมูลเหมือนกันกับตัวแปร phone {‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’, ‘year’: 2022} อีกวิธีหนึ่งในการคัดลอกข้อมูลประเภท Dictionary คือ ใช้เมธอด dict() ผลลัพธ์ ตัวแปร myDict มีค่าเหมือนกันกับตัวแปร phone ทุกประการ {‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’, ‘year’: 2022}

Python ตอนที่ 123 การวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary

การวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary

เราสามารถวนลูปเข้าถึงสมาชิกใน Dictionary ได้โดยการใช้ลูป for แต่ค่าที่คืนกลับมาจะเป็น key ไม่ใช่ค่า value ดังตัวอย่าง ผลลัพธ์ จะได้เป็น key ที่มีอยู่ใน Dictionary brandmodelyear ถ้าต้องการข้อมูลเป็นค่า value ให้ระบุตัวแปร Dictionary แล้วกำหนด key ที่ได้ในแต่ละรอบลงไป ผลลัพธ์ ได้ข้อมูลที่เป็นค่า value ของ Dictionary AppleiPhone 142022 เราสามารถใช้เมธอด values() เพื่อคืนค่ากลับมาเป็นค่า value ของ Dictionary เลยก็ได้ ดังตัวอย่าง ผลลัพธ์ AppleiPhone 142022…

Python ตอนที่ 122 การลบข้อมูลใน Dictionary

การลบข้อมูลใน Dictionary

เราสามารถลบข้อมูลออกจาก Dictionary ได้หลายวิธีด้วยกัน เมธอด pop() เมธอด pop() ใช้สำหลับลบข้อมูลออกจาก Dictionary โดยการระบุ key ซึ่งมีรูปแบบการทำงานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ key ที่ระบุถูกลบออกจาก Dictionary {‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’} เมธอด popitem() เมธอด popitem() ใช้สำหรับลบข้อมูลลำดับสุดท้ายออกจาก Dictionary (ในเวอร์ชันต่ำกว่า 3.7 จะลบแบบสุ่ม) ผลลัพธ์ ข้อมูลลำดับสุดท้ายจะถูกลบออกไป {‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’} ลบข้อมูลด้วยคีย์เวิร์ด del…

Python ตอนที่ 121 การเพิ่มข้อมูลใน Dictionary

การเพิ่มข้อมูลใน Dictionary

การเพิ่มข้อมูลใหม่เข้าไปใน Dictionary สามารถทำได้ง่าย ๆ โดยการระบุ key ใหม่ และกำหนด value ใหม่ ดังนี้ ผลลัพธ์ Before adding new item :{‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’, ‘year’: 2022}After adding new item :{‘brand’: ‘Apple’, ‘model’: ‘iPhone 14’, ‘year’: 2022, ‘price’: 37900} หมายเหตุ : ถ้าคีย์ที่ระบุ ซ้ำกับคีย์เดิมที่มีอยู่แล้ว จะเป็นการเปลี่ยนแปลงค่าของ…

Python ตอนที่ 120 การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน Dictionary

การเปลี่ยนแปลงข้อมูลใน Dictionary

เราสามารถเปลี่ยนแปลงค่าข้อมูลใน Dictionary โดยการระบุ key ดังนี้ ผลลัพธ์ Price before change : 40000Price after change : 39700 เมธอด update() นอกจากการระบุ key และกำหนดค่าใหม่ ดังกล่าวข้างต้นแล้ว เราสามารถเปลี่ยนแปลงค่าใน Dictionary ด้วยเมธอด update() อีกด้วย โดยมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ Price before change : 40000Price after change : 39700

Python ตอนที่ 119 การเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary

การเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary

ถ้าต้องการเข้าถึงข้อมูลใน Dictionary สามารถทำได้โดยระบุชื่อ key ไว้ภายในวงเล็บสี่เหลี่ยม ดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ iPhone 14 เมธอด get() การเข้าถึงค่าข้อมูลใน Dictionary อีกวิธีหนึ่งคือ การใช้เมธอด get() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ผลลัพธ์ iPhone 14 เมธอด keys() ถ้าต้องการดึงเอา keys ทั้งหมดที่มีอยู่ใน Dictionary สามารถทำได้โดยใช้เมธอด keys() จะได้ผลลัพธ์เป็นรายการคีย์ของ Dictionary dict_keys([‘brand’, ‘model’, ‘year’, ‘colors’, ‘price’]) เมธอด values() ถ้าต้องการดึงเอาค่าทั้งหมดที่เก็บอยู่ใน Dictionary…

Python ตอนที่ 118 ข้อมูลประเภท Dictionary

ข้อมูลประเภท Dictionary

Dictionary เป็นการเก็บข้อมูลแบบ Collection อีกแบบหนึ่ง ใช้เก็บค่าข้อมูลที่มีการจับคู่กันแบบ key:value สามารถแก้ไขข้อมูลได้ และไม่สามารถเก็บข้อมูลซ้ำกันได้ (ชื่อ key ซ้ำกันไม่ได้) ใน Python เวอร์ชัน 3.6 ลงไป ข้อมูลที่เก็บในแบบ Dictionary จะเป็นแบบไม่เรียงลำดับ แต่ในเวอร์ชัน 3.7 ขึ้นไป จะเป็นแบบเรียงลำดับ ลักษณะการใช้งาน Dictionary จะเขียนไว้ในวงเล็บปีกกา {} หรือที่เรียกว่า curly brackets โดยภายในจะประกอบด้วย keys และ values มีรูปแบบดังนี้ สมาชิกของ Dictionary สมาชิก หรือข้อมูลใน Dictionary…

Python ตอนที่ 117 รวมข้อมูลจากหลายเซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด update()

รวมข้อมูลจากหลายเซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด update()

เมธอด update() ใช้สำหรับรวมสมาชิกจากหลายเซ็ทเข้าด้วยกัน คล้าย ๆ เมธอด union() แต่เมธอด update() จะนำสมาชิกจากเซ็ท (หรือ Iterable) อื่นมาเพิ่มเข้าในเซ็ทต้นทาง มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ {‘Dell’, ‘MSI’, ‘Lenovo’, ‘Microsoft’, ‘Asus’, ‘Acer’, ‘HP’}

Python ตอนที่ 116 รวมข้อมูลจากหลายเซ็ทด้วยเมธอด union()

รวมข้อมูลจากหลายเซ็ทด้วยเมธอด union()

เมธอด union() ใช้สำหรับรวมสมาชิกจากเซ็ทหลาย ๆ เซ็ทเข้าด้วยกัน (ข้อมูลที่ซ้ำกันจะเหลือไว้เพียงชุดเดียว) มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ จะได้เซ็ทใหม่ที่มีสมาชิกจากเซ็ท a และเซ็ท b รวมกัน {‘Asus’, ‘MSI’, ‘Lenovo’, ‘Microsoft’, ‘Dell’, ‘Acer’, ‘HP’} ข้อมูลที่นำมาทำ Union ไม่จำเป็นต้องเป็น Set เสมอไป แต่จะเป็นข้อมูลแบบ Iterable ชนิดใดก็ได้ เช่น List, Tuple, etc. ตัวอย่างการนำข้อมูลแบบ Set มาทำ Union กับข้อมูลแบบ List ผลลัพธ์…

Python ตอนที่ 115 รวมข้อมูลที่ต่างกันจาก 2 เซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด symmetric_difference_update()

รวมข้อมูลที่ต่างกันจาก 2 เซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด symmetric_difference_update()

เมธอด symmetric_difference_update() ใช้สำหรับรวมสมาชิกที่ต่างกันจากเซ็ท 2 เข้าด้วยกัน โดยจะลบสมาชิกที่มีอยู่ในเซ็ททั้ง 2 แล้วเพิ่มสมาชิกที่ต่างกันจากเซ็ทปลายทางเข้ามาในเซ็ทต้นทาง มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลที่เหมือนกันจะถูกลบออกจากเซ็ท a และข้อมูลที่ต่างกันในเซ็ท b จะถูกนำมารวมไว้ในเซ็ท a {‘Dell’, ‘Lenovo’, ‘HP’, ‘Acer’, ‘MSI’}

Python ตอนที่ 114 รวมข้อมูลที่ต่างกันจาก 2 เซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด symmetric_defference()

รวมข้อมูลที่ต่างกันจาก 2 เซ็ทเข้าด้วยกัน ด้วยเมธอด symmetric_defference()

เมธอด symmetric_difference() ใช้สำหรับรวมข้อมูลจากเซ็ท 2 เซ็ทเข้าด้วยกัน (เฉพาะข้อมูลที่แตกต่างกัน) ข้อมูลที่มีอยู่ในทั้งสองเซ็ทจะถูกละเว้น มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ จะได้เซ็ทใหม่ที่มีข้อมูลจากเซ็ท a และเซ็ท b (เฉพาะข้อมูลที่ต่างกัน) {‘MSI’, ‘Dell’, ‘HP’, ‘Acer’, ‘Lenovo’}

Python ตอนที่ 113 ลบข้อมูลออกจาก Set ด้วยเมธอด remove()

ลบข้อมูลออกจาก Set ด้วยเมธอด remove()

ถ้าต้องการลบข้อมูลออกจาก Set โดยสามารถระบุได้ว่าจะลบข้อมูลตัวไหน สามารถทำได้โดยใช้เมธอด remove() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลคำว่า “Dell” จะหายไปจากเซ็ท a {‘Lenovo’, ‘MSI’, ‘Microsoft’, ‘Asus’} ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด remove() กับเมธอด discard() คือ

Python ตอนที่ 112 ลบข้อมูลออกจาก Set แบบสุ่มด้วยเมธอด pop()

ลบข้อมูลออกจาก Set แบบสุ่มด้วยเมธอด pop()

เมธอด pop() ใช้สำหรับลบข้อมูลออกจากเซ็ททีละ 1 ค่า มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ การลบข้อมูลด้วยเมธอด pop() จะเป็นการลบแบบสุ่ม คือเราระบุไม่ได้ว่าจะให้ลบข้อมูลตัวใดในเซ็ท และจะคืนค่ากลับออกมาเป็นข้อมูลที่ถูกลบ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ สมาชิกในเซ็ท a จะหายไป 1 ค่า (แบบสุ่ม) {‘Asus’, ‘Microsoft’, ‘Lenovo’, ‘MSI’} เมธอด pop() จะคืนค่ากลับมาเป็นข้อมูลที่ถูกลบ ดังนั้น ถ้าอยากรู้ว่าข้อมูลตัวไหนถูกลบ ให้สร้างตัวแปรขึ้นมารับค่าจากเมธอด pop() แล้วนำตัวแปรนั้นมาแสดงผล ดังตัวอย่าง ผลลัพธ์ จะสามารถรู้ได้ว่าข้อมูลตัวไหนถูกลบออกจากเซ็ท a Microsoft

Python ตอนที่ 111 ตรวจสอบว่าเซ็ทปัจจุบันเป็น Superset ของเซ็ทอื่นหรือไม่ ด้วยเมธอด issuperset()

ตรวจสอบว่าเซ็ทปัจจุบันเป็น Superset ของเซ็ทอื่นหรือไม่ ด้วยเมธอด issuperset()

เมธอด issuperset() ใช้สำหรับตรวจสอบว่าเซ็ทปัจจุบันเป็น Superset ของอีกเซ็ทหนึ่งหรือไม่ เช่น ถ้าสมาชิกทั้งหมดในเซ็ท b มีอยู่ในเซ็ท a นั่นแสดงว่าเซ็ท a เป็น Superset ของเซ็ท b จะคืนค่าเป็น True ถ้าไม่เช่นนั้นจะคืนค่าเป็น False มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์จะเป็น True เพราะสมาชิกทั้งหมดในเซ็ท b มีอยู่ในเซ็ท a นั่นหมายความว่า เซ็ท a เป็น Superset ของเซ็ท b True ผลลัพธ์จะเป็น False เพราะสมาชิกทั้งหมดในเซ็ท b…

Python ตอนที่ 110 ตรวจสอบว่าเซ็ทปัจจุบันเป็น Subset ของอีกเซ็ทหนึ่งหรือไม่ ด้วยเมธอด issubset()

ตรวจสอบว่าเซ็ทปัจจุบันเป็น Subset ของอีกเซ็ทหนึ่งหรือไม่ ด้วยเมธอด issubset()

เมธอด issubset() ใช้สำหรับตรวจสอบว่า Set หนึ่งเป็น Subset ของอีก Set หนึ่งหรือไม่ เช่น ถ้าสมาชิกทั้งหมดในเซ็ท a มีอยู่ในเซ็ท b ด้วย แสดงว่าเซ็ท a เป็น Subset ของเซ็ท b จะคืนค่าเป็น True ถ้าไม่เช่นนั้นจะคืนค่าเป็น False มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์จะเป็น True เพราะสมาชิกทุกตัวในเซ็ท a มีอยู่ในเซ็ท b ด้วย True จะได้ผลลัพธ์เป็น False เพราะสมาชิกทุกตัวในเซ็ท a ไม่ได้มีในเซ็ท…

Python ตอนที่ 109 ตรวจสอบว่าไม่มีข้อมูลที่ซ้ำกันในเซ็ท 2 ชุด ด้วยเมธอด isdisjoint()

ตรวจสอบว่าไม่มีข้อมูลที่ซ้ำกันในเซ็ท 2 ชุด ด้วยเมธอด isdisjoint()

เมธอด isdisjoint() ใช้สำหรับตรวจสอบว่าข้อมูลในเซ็ทจำนวน 2 ชุดไม่มีข้อมูลซ้ำกันหรือไม่ ถ้าไม่มีข้อมูลซ้ำกันจะคืนค่าเป็น True แต่ถ้ามีข้อมูลซ้ำกันจะคืนค่าเป็น False มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์จะเป็น True เพราะเซ็ท a กับเซ็ท b ไม่มีข้อมูลที่ซ้ำกัน True ผลลัพธ์จะเป็น False เพราะเซ็ท a กับเซ็ท b มีข้อมูลซ้ำกันหนึ่งค่า คือ “Lenovo” False

ตอนที่ 108 ลบข้อมูลที่ไม่เหมือนกันออกจาก Set ด้วยเมธอด intersection_update()

ลบข้อมูลที่ไม่เหมือนกันออกจาก Set ด้วยเมธอด intersection_update()

เมธอด intersection_update() ใช้สำหรับลบข้อมูลใน Set ที่ไม่ปรากฏอยู่ในเซ็ทอื่น มีรูปแบบการใช้งานดังนี้ เมธอด intersection_update() จะลบข้อมูลจาก Set ต้นทาง ที่ไม่มีใน Set ที่นำมาเปรียบเทียบ ดังตัวอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลในเซ็บ a จะเหลือเฉพาะข้อมูลที่เหมือนกันกับเซ็ท b {‘Lenovo’} การเปรียบเทียบกับหลายเซ็ท {‘Lenovo’} ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด intersection_update() กับเมธอด intersection() คือ

Python ตอนที่ 107 หาค่าที่ซ้ำกันใน 2 เซ็ทขึ้นไป ด้วยเมธอด intersection()

หาค่าที่ซ้ำกันใน 2 เซ็ทขึ้นไป ด้วยเมธอด intersection()

ถ้าต้องการหาค่าที่ซ้ำกันในเซ็ทตั้งแต่ 2 เซ็ทขึ้นไป สามารถทำได้โดยใช้เมธอด intersection() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ เมธอด intersection() จะให้ผลลัพธ์เป็นข้อมูลแบบ Set ที่ประกอบไปด้วยข้อมูลที่ซ้ำกันใน 2 เซ็ทหรือมากกว่า ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ได้เซ็ทใหม่ที่มีข้อมูลที่ซ้ำกันในทั้ง 2 เซ็ท {‘Lenovo’} {‘Lenovo’}

Python ตอนที่ 106 ลบข้อมูลใน Set ด้วยเมธอด discard()

ลบข้อมูลใน Set ด้วยเมธอด discard()

นอกจากเมธอด remove() แล้ว เราสามารถลบข้อมูลใน Set ได้โดยใช้งานเมธอด discard() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลที่ระบุจะถูกลบออกไปจาก Set {‘Asus’, ‘Lenovo’} ข้อแตกต่างระหว่างเมธอด remove() กับเมธอด discard() คือ ตัวอย่างการใช้งานเมธอด discard() โดยระบุข้อมูลที่ไม่มีอยู่จริงใน Set ต้นทาง ผลลัพธ์ จะไม่เกิด Error เพียงแต่ไม่มีการลบข้อมูลเท่านั้น เพราะข้อมูลที่ระบุไม่มีอยู่จริง {‘Lenovo’, ‘Asus’, ‘Acer’}

Python ตอนที่ 105 ลบข้อมูลที่ซ้ำกับ Set อื่น ด้วยเมธอด difference_update()

ลบข้อมูลที่ซ้ำกับ Set อื่น ด้วยเมธอด difference_update()

เราสามารถลบข้อมูลใน Set ที่ซ้ำกับข้อมูลในเซ็ทอื่นได้ด้วยเมธอด difference_update() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ โดยเมธอด difference_update() จะทำการเปรียบเทียบข้อมูลระหว่าง Set ต้นทางกับ Set ที่นำมาเปรียบเทียบ และลบข้อมูลที่ซ้ำกันออกจาก Set ต้นทาง ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ข้อมูลใน set1 ที่ซ้ำกับข้อมูลใน set2 จะถูกลบออกไป คงเหลือเฉพาะข้อมูลที่ไม่ซ้ำกัน {‘Asus’, ‘Lenovo’}

Python ตอนที่ 104 หาค่าที่แตกต่างกันระหว่าง 2 เซ็ทขึ้นไป ด้วยเมธอด difference()

หาค่าที่แตกต่างกันระหว่าง 2 เซ็ทขึ้นไป ด้วยเมธอด difference()

ถ้าต้องการหาค่าที่แตกต่างกันระหว่าง Set ตั้งแต่ 2 เซ็ทขึ้นไป สามารถทำได้โดยใช้เมธอด difference() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ โดยการใช้งานเมธอด difference() จะได้ข้อมูลเป็น Set ใหม่ ที่มีข้อมูลที่แตกต่างกันระหว่างเซ็ทต้ทางกับเซ็ทที่นำมาเปรียบเทียบ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ จะได้เซ็ทใหม่ที่มีข้อมูลที่แตกต่างกันระหว่าง set1 กับ set2 {‘Lenovo’, ‘Asus’} เปรียบเทียบมากกว่า 2 เซ็ท ถ้าต้องการเปรียบเทียบมากกว่า 2 เซ็ทก็สามารถทำได้โดยระบุเซ็ทสำหรับเปรียบเทียบเข้าไปมากกว่า 2 เซ็ท แต่ต้องคั่นแต่ละเซ็ทด้วยเครื่องหมายคอมม่า , ผลลัพธ์ จะได้เซ็ทใหม่ที่มีข้อมูลใน set1 แต่ไม่มีใน set2 และ set3 {‘Lenovo’,…

Python ตอนที่ 103 คัดลอกข้อมูลใน Set ด้วยเมธอด copy()

คัดลอกข้อมูลใน Set ด้วยเมธอด copy()

เราสามารถคัดลอก Set ได้โดยการใช้งานเมธอด copy() ซึ่งมีรูปแบบการใช้งานดังนี้ ตัวอย่าง ผลลัพธ์ ได้เซ็ทใหม่ที่มีข้อมูลเหมือนกันกันเซ็ทต้นทางทุกประการ {‘Lenovo’, ‘Acer’, ‘Asus’}